ธนาคารกลางสหรัฐ มีแผนการปรับลดงบดุล อาจส่งผลต่อความเชื่อมั่นในความเสี่ยงต่อสินทรัพย์ลดลง หรือถึงเวลาขาย USD/JPY
ธนาคารกลางสหรัฐอาจประกาศแผนการผ่อนคลายงบดุลในเดือนกันยายน ในขณะที่ยังคงนโนยบายอัตราดอกเบี้ยไว้
สกุลเงินดอลลาร์อ่อนค่าลงระดับต่ำสุดในรอบ 14 เดือน เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาสืบเนื่องมาจาก นักลงทุนมีการตอบสนองต่อท่าทีของการปรับนโยบายผ่อนปรนทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ คณะกรรมการนโยบายทางการเงินได้ให้สัญญาณถึงความพร้อม ที่จะเริ่มต้นโครงสร้างกระตุ้นเศรษฐกิจในช่วงวิกฤติให้เร็วที่สุดเท่าที่จะมีการประชุมครั้งต่อไป แต่แนวโน้มอัตราเงินเฟ้อในสหรัฐยังคงส่งผลต่อความเชื่อมั่นของสกุลเงินดอลลาร์
ธนาคารกลางสหรัฐยังคงอัตราดอกเบี้ยไม่เปลี่ยนที่ 1% ถึง 1.25% เป็นไปตามการคาดการณ์ของตลาด แต่ในสัญญาณของการแก้ปัญหาของคณะกรรมการนโยบาย ธนาคารกลางสหรัฐได้แถลงการณ์ว่าพร้อมแล้วที่จะเริ่มลดขนาดของงบดุล "ในเร็ว ๆ นี้" จาก "ในช่วงใดช่วงหนึ่งในปีนี้" ในแถลงการณ์ของเดือนมิถุนายนตราบที่เศรษฐกิจยังคงเดินหน้าต่อไป
ในการแถลงการณ์ ธนาคารกลางสหรัฐกล่าวว่าคณะกรรมการคาดว่าจะเริ่มใช้นโยบายการปรับลดงบดุลในเร็ว ๆ นี้ โดยมีเงื่อนไขว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวได้ตามที่คาดการณ์ไว้ นี่สอดคล้องกับคำแถลงจาก เยลเลน เองอย่างไรก็ตาม เราคาดว่างบดุลอาจไม่ส่งผลในเชิงบวกให้กับเงินดอลลาร์สหรัฐในเดือนนี้เยลเลนได้รับการรับรองจากการให้การต่อสภาคองเกรสว่าการชะลอตัวของการเติบโตของเงินเฟ้อ อาจใช่แค่ ผลมาจากปัจจัยแบบเดียวกับ การลดค่าใช้จ่ายโทรศัพท์มือถือเมื่อเร็ว ๆ นี้ หากผลลัพธ์การอ่อนค่าของเงินเฟ้อ ยังคงอยู่ในช่วงครึ่งปีหลังกับธนาคารกลางสหรัฐ มีแนวโน้มที่จะคงอัตราไว้ตามปัจจุบันไปสักระยะ โดยการนำความคาดหวังของอัตราในปัจจุบันไปใช้ในช่วงสิ้นที่ยังคงไม่ชัดเจน
ไม่ว่าธนาคารกลางสหรัฐจะมีนโยบายออกมาในรูปแบบใดก็ตาม ค่าเงินเยนดูจะอยู่ในสถานการณ์ที่ลงตัวที่สุด
และนี่คือสองสถานการณ์เกิดขึ้นต่างกัน
สถานการณ์ที่ 1:ธนาคารกลางสหรัฐยังคงไว้ทั้ง 2 นโยบาย คือคงอัตราดอกเบี้ย และขนาดของงบดุลไม่เปลี่ยนแปลงจากแนวโน้มอัตราเงินเฟ้อที่อ่อนตัวลง
แนวโน้มค่าเงินดอลลาร์ที่อ่อนค่าลงมีแนวโน้มสูงขึ้นเนื่องจากตลาดคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐจะทำให้วงจรการปรับตัวของธนาคารกลางสหรัฐดีขึ้น
สถานการณ์ที่ 2: ธนาคารกลางสหรัฐประกาศแผนการจ่ายงบดุลเนื่องจากการเติบโตของอัตราเงินเฟ้อยังคงเป็นไปตามคาด
มีข้อสงสัยเล็กน้อยในตลาดจากการเคลื่อนตัวในตลาดหุ้นทั่วโลกในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ถูกกระตุ้นโดยมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของธนาคารกลาง และเป็นหนึ่งในตัวแทนของการทำเช่นนั้น เมื่อธนาคารกลางสหรัฐเริ่มเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ของงบดุล มีความเป็นไปได้สูงว่าหุ้นสหรัฐจะซื้อขายที่ระดับต่ำลงบ้าง ความเสี่ยงต่อความเชื่อมั่นในตลาดทุนโลก ให้มีความต้องการที่เพิ่มขึ้นในสินทรัพย์ที่ปลอดภัย เช่น ค่าเงินเยนญี่ปุ่น ทองและเยอรมันพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐ ฯลฯ
ทางเลือกของเรา
EUR/USD – ยังทางตัว. เราคาดว่าคู่นี้จะมีการปรับตัวขึ้นต่อเนื่องในอีกไม่กี่สัปดาห์ข้างหน้าท่ามกลาง ความไม่เอื้ออำนวนของธนาคารกลางยุโรป อย่างไรก็ตาม คู่นี้อาจ ดึงกลับก่อนที่จะถึงจุดสูงที่สุด ราคาอาจถอยกลับไปที่ 1.1640 ในสัปดาห์นี้
USD/JPY – ปรับตัวลดลงเล็กน้อย. คู่อาจร่วงลง 110 จุดภายในสัปดาห์นี้
XAU/USD (ทองคำ) – ปรับตัวลดลงเล็กน้อยเราคาดการณ์ว่าดอลล่าจะมีมาฟื้นตัวทางเทคนิคในสัปดาห์นี้ การกระทำดังกล่าวอาจส่งผลให้ราคาทองคำปรับตัวลดลงสู่ 1260 ในสัปดาห์นี้
ข่าวเด่นประจำสัปดาห์ (GMT+8 time zone)
ออสเตรเลีย: อัตราดอกเบี้ย. อังคารที่ 1 สิงหาคม 2017 เวลา 12.30 น.
เราคาการณ์ว่าตัวเลขจะคงไว้ที่ 1.5% (ก่อนหน้านี้อยู่ที่ 1.5%)
สหรัฐอเมริกา : รายงานการจ้างงานนอกภาคการเกษตร วันศุกร์ที่ 4 สิงหาคม เวลา 20.30 น.
เราคาดการการณ์ว่าตัวเลขจะเข้ามาที่ 190k (ก่อนหน้านี้อยู่ที่ 222k)
ทีมวิจัยฟูลเลอร์ตัน มาร์เก็ต
คู่ค้าที่ทุ่มเทของคุณ