สาเหตุเบื้องหลังวิกฤติเศรษฐกิจโลก 

1) ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) และนโยบายธนาคารกลางทั่วโลกมีท่าทีแตกต่างกันให้เห็นอีกครั้ง

ธนาคารกลางสหรัฐฯกำลังเดินหน้านำทั่วโลก แบงค์ชาติญี่ปุ่นยังคงนโยบายผ่อนปรณแบบเฉียบขาดไว้อย่างต่อเนื่องพร้อมการแนะนำแนวทางล่วงหน้า ธนาคารกลางยุโรปปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยแต่นาย มาร์ค คาร์นี่ย์ (Mark Carney) ออกมาให้ความกระจ่างว่าอาจจะต้องรออีกนานพอสมควรกว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกครั้ง ธนาคารกลางยุโรปไม่เร่งรีบในการปรับขึ้นต้นทุนการกู้ยืมในอีก 12 เดือน 

ภาวะเสื่อมค่าของค่าเงินในตลาดเกิดใหม่ยังคงมีต่อไปอย่างน้อยจนถึงสิ้นเดือนกันยายน ตลาดคาดหวังให้ธนาคารกลางสหรัฐปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกครั้งในเดือนนี้และนั่นจะเป็นเพียงการเพิ่มแรงกดดันให้เงินทุนไหลออกจากตลาดเกิดใหม่ 

เมื่อไม่กี่สัปดาห์ก่อนค่าเงินของตลาดเกิดใหม่ต่างร่วงลงทั่วโลกกว่า 13% ตั้งแต่เดือนเมษายนเนื่องจากค่าเงินดอลล่าร์สหรัฐปรับตัวสูงขึ้นและเงินทุนไหลเข้าสู่ตลาดที่พัฒนาแล้ว การเสื่อมค่าของค่าเงินในตลาดเกิดใหม่รอบนี้เริ่มเมื่อค่าเงินลีราของตุรกีร่วงลงเมื่อเดือนสิงหาคม อย่างไรก็ตามตุรกีไม่ใช่ตลาดเกิดใหม่เจ้าเดียวที่ประสบกับแรงกดจากภาวะเสื่อมค่าของเงินนี้ ตลาดเกิดใหม่อื่นๆในโลกก็กำลังจะพบกับปัญหาเดียวกัน ที่เป็นไปได้มีสองประเทศซึ่งจะเจอกับแรงกดดันในตอนนี้ คืออินโดนีเซียและอินเดียธนาคารกลางทั้งสองแห่งเพิ่งออกมาตรการเพื่อลดค่าเสื่อมค่าของค่าเงิน แต่ประสิทธิภาพที่ได้นั้นมีจำกัดดังที่เราจะเห็นได้จากสกุลเงินรูปี และรูเปี๊ยะร่วงลงต่ำสุดในรอบ 20 ปี 

2) ความตึงเครียดด้านการค้าระหว่างประเทศที่เพิ่มขึ้นส่งผลต่อความเชื่อมั่นและแนวโน้มการเติบโต

การส่งออกของจีนมีแนวโน้มชะลอตัวในช่วง 2-3 ไตรมาสถัดไปเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของคำสั่งซื้อจากต่างประเทศในระดับปานกลางท่ามกลางความไม่แน่นอนของสงครามการค้า การส่งออกเพิ่มขึ้น 9.8% เมื่อเดือนที่แล้วและเมื่อเทียบกับที่ขยายตัว 12.6% ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2561 การลดลงของคำสั่งซื้อใหม่ในดัชนี PMI ของรัฐบาลซึ่งลดลงเหลือ 49.4 ในเดือนสิงหาคมจากระดับ 49.8 ในเดือนกรกฎาคมและจะยังคงเป็นต่อไป ถ้าสหรัฐฯกำหนดเพิ่มอัตราภาษีนำเข้าจากจีน 

เราสังเกตเห็นว่าสินทรัพย์ของจีนซึ่งรวมถึงค่าเงินหยวนได้รับอิทธิพลส่วนใหญ่จากตลาดเกิดใหม่ตลอดช่วงที่เหลือในปีนี้ ความสัมพันธ์กับดัชนีค่าเงินของตลาดเกิดใหม่ของ JP Morgan เข้าใกล้ระดับ 0.9 ในปีนี้จากเท่าที่เห็น และความสัมพันธ์กับดัชนี MSCI ของตลาดเกิดใหม่อยู่ที่ 0.85 

รัฐบาลจีนกำลังดำเนินการมาตรการต่างๆเพื่อลดความอ่อนแอของค่าเงินหยวนรวมถึงการกลับเข้าสู่ปัจจัยที่เป็นตัวนับวัฏจักรการหมุนเวียนเพื่อปรับปรุงเงินหยวนอีกครั้งโดยการกำหนดความต้องการสำรองในการซื้อขายล่วงหน้า หนึ่งในเหตุผลหลักที่อยู่เบื้องหลังคือการป้องกันไม่ให้สกุลเงินหยวนร่วงลงจาก 7 หยวนต่อดอลลาร์สหรัฐ

หากค่าเงินหยวนต่อดอลล่าร์สหรัฐร่วงลงถึงระดับสำคัญที่ 7 หยวนต่อดอลล่าร์ มันจะเป็นการสร้างแรงกดดันอย่างมหาศาลให้กับค่าเงินของตลาดเกิดใหม่ที่เหลืออย่างแพร่กระจายรวมไปถึงหุ้นอีก

 

ผลกระทบจากวิกฤติค่าเงินที่มีต่อเศรษฐกิจโลก 

อย่างแรก ผมไม่คิดว่าจะมีวิกฤติค่าเงินที่เกิดเป็นวงกว้างในขณะนี้ และความรุนแรงยังน้อยกว่าสมัยวิกฤติหนี้สินของสหภาพยุโรปในช่วงปี 2553 -2555 การเทขายสินทรัพย์บางประเภทของตลาดเกิดใหม่จะเน้นไปที่ข้อเท็จจริงไม่กี่อย่าง หนึ่งคือความพยายามที่จะทำให้นโยบายการเงินของสหรัฐฯเป็นไปตามปกติหลังจากกว่าทศวรรษที่มีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจแบบพิเศษซึ่งส่งผลต่อประเทศอื่น ๆ อีกมากมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเงินเฟ้อสูงขึ้นรวมถึงหนี้ต่างประเทศประการที่สองแม้ว่านโยบายแบบกระชับซึ่งเป็นที่ถูกใจของหลายๆกลุ่มทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้นแต่ก็สร้างความลำบากทำให้ประเทศอื่นๆเช่นอาร์เจนตินาในการขายหรือกู้ยืมเป็นสกุลเงินดอลลาร์ได้ยากขึ้น เมื่อรวมกับช่องโหว่ที่มีอยู่แล้วและความไม่แน่นอนทางการเมือง เมื่ออยู่ในขั้นนี้จึงเรียกได้ว่าเป็นวงจรการล่มสลายของเศรษฐกิจแบบพึ่งพาตนเอง เป็นกับดักให้นโยบายเข้าสู่วงจรเลวร้าย ตัวอย่างเช่น 

ธนาคารกลางช่วยให้นโยบายการเงินสามารถอัดฉีดสภาพคล่องเพื่อตอบโต้การไหลออกของเงินทุนได้มากขึ้น แต่ยิ่งมีการฉีดมากขึ้นความกดดันด้านค่าเสื่อมค่าของสกุลเงินก็ยิ่งมากขึ้นซึ่งจะทำให้เกิดการไหลออกของเงินทุนมากขึ้นไปอีก ในทางกลับกันแรงกดดันด้านเงินสกุลต่างๆของตลาดเกิดใหม่ช่วยผลักดันให้อัตราเงินเฟ้อสูงขึ้นและสร้างความสงสัยเกี่ยวกับฐานะทางการเงินของประเทศโดยมีคำถามว่าจำเป็นหรือไม่ที่จะควบคุมความนโยบายรัดกุมของการคลัง กลับกลายเป็นการคุกคามแนวโน้มการเติบโตและลงความเชื่อมั่นลงอย่างมาก

 

การแก้ปัญญาด้วยการขึ้นดอกเบี้ยอย่างเช่นที่หลายประเทศกำลังทำอยู่เป็นการแก้ปัญหาที่ถูกทางหรือไม่ และมีวิธีเสนอแนะการแก้ไขด้วยวิธีอื่นหรือไม่

ว่ากันตามตรงแล้วมีทางเลือกเหลือไม่มากนั้น มีตลาดเกิดใหม่เพียงไม่กี่ประเทศที่ถือทุนสำรองเงินตราต่างประเทศก้อนโตอย่างเช่นที่จีนมี ดังนั้นช่องทางที่ให้พวกเขาปกป้องค่าเงินของเขาได้นั้นจึงมีจำกัด หากพวกเขาไม่ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อป้องกันไม่ให้มีการเทขาย ระบบการเงินของพวกเขาก็จะอ่อนแอลง   

การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อควบคุมภาวะเงินเฟ้อและลดความกดดันด้านการเสื่อมค่าของสกุลเงินทำให้เกิดผลข้างเคียงกับเศรษฐกิจอยู่หลายอย่างนั้นเป็นเรื่องจริง  หากธนาคารกลางออกนโยบายปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไม่ไหว อีกทางเลือกหนึ่งคือสร้างความแข็งแกร่งให้กับการจัดการเงินทุนระหว่างประเทศ (cross-broader capital management) แต่สิ่งนี้ไม่ใช่ทางเลือกที่ดีต่อประเทศนักเนื่องจากมันจะไปลดฟังก์ชั่นการทำงานของระบบตลาดทุนที่มีประสิทธิภาพและบิดเบือนการประเมินมูลค่าสินทรัพย์ต่างๆในประเทศของตนเอง

 

ผลกระทบจากวิกฤตครั้งนี้ส่งผลต่อค่าเงินและเศรษฐกิจไทยอย่างไร? 

ต้องขอบคุณงบเกินดุลบัญชีเดินสะพัดปริมาณใหญ่มากและทุนสำรองเงินตราระหว่างประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 13 ในตอนนี้ค่าเงินบาทเป็นตัวบ่งชี้ที่ดีที่สุดในกลุ่มเพื่อนบ้านในภูมิภาคเงินทุนสำรองระหว่างประเทศที่แข็งค่าของไทยและการเพิ่มขึ้นของดุลบัญชีเดินสะพัดที่เกินดุลจำนวนมากช่วยปกป้องสกุลเงินบาทจากความวุ่นวายที่เลวร้ายที่สุดของตลาดเกิดใหม่

pic1

สาเหตุเบื้องหลังวิกฤติเศรษฐกิจโลก 

  • ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) และนโยบายธนาคารกลางทั่วโลกมีท่าทีแตกต่างกันให้เห็นอีกครั้ง

ธนาคารกลางสหรัฐฯกำลังเดินหน้านำทั่วโลก แบงค์ชาติญี่ปุ่นยังคงนโยบายผ่อนปรณแบบเฉียบขาดไว้อย่างต่อเนื่องพร้อมการแนะนำแนวทางล่วงหน้า ธนาคารกลางยุโรปปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยแต่นาย มาร์ค คาร์นี่ย์ (Mark Carney) ออกมาให้ความกระจ่างว่าอาจจะต้องรออีกนานพอสมควรกว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกครั้ง ธนาคารกลางยุโรปไม่เร่งรีบในการปรับขึ้นต้นทุนการกู้ยืมในอีก 12 เดือน 

ภาวะเสื่อมค่าของค่าเงินในตลาดเกิดใหม่ยังคงมีต่อไปอย่างน้อยจนถึงสิ้นเดือนกันยายน ตลาดคาดหวังให้ธนาคารกลางสหรัฐปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกครั้งในเดือนนี้และนั่นจะเป็นเพียงการเพิ่มแรงกดดันให้เงินทุนไหลออกจากตลาดเกิดใหม่ 

เมื่อไม่กี่สัปดาห์ก่อนค่าเงินของตลาดเกิดใหม่ต่างร่วงลงทั่วโลกกว่า 13% ตั้งแต่เดือนเมษายนเนื่องจากค่าเงินดอลล่าร์สหรัฐปรับตัวสูงขึ้นและเงินทุนไหลเข้าสู่ตลาดที่พัฒนาแล้ว การเสื่อมค่าของค่าเงินในตลาดเกิดใหม่รอบนี้เริ่มเมื่อค่าเงินลีราของตุรกีร่วงลงเมื่อเดือนสิงหาคม อย่างไรก็ตามตุรกีไม่ใช่ตลาดเกิดใหม่เจ้าเดียวที่ประสบกับแรงกดจากภาวะเสื่อมค่าของเงินนี้ ตลาดเกิดใหม่อื่นๆในโลกก็กำลังจะพบกับปัญหาเดียวกัน ที่เป็นไปได้มีสองประเทศซึ่งจะเจอกับแรงกดดันในตอนนี้ คืออินโดนีเซียและอินเดียธนาคารกลางทั้งสองแห่งเพิ่งออกมาตรการเพื่อลดค่าเสื่อมค่าของค่าเงิน แต่ประสิทธิภาพที่ได้นั้นมีจำกัดดังที่เราจะเห็นได้จากสกุลเงินรูปี และรูเปี๊ยะร่วงลงต่ำสุดในรอบ 20 ปี 

2) ความตึงเครียดด้านการค้าระหว่างประเทศที่เพิ่มขึ้นส่งผลต่อความเชื่อมั่นและแนวโน้มการเติบโต

การส่งออกของจีนมีแนวโน้มชะลอตัวในช่วง 2-3 ไตรมาสถัดไปเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของคำสั่งซื้อจากต่างประเทศในระดับปานกลางท่ามกลางความไม่แน่นอนของสงครามการค้า การส่งออกเพิ่มขึ้น 9.8% เมื่อเดือนที่แล้วและเมื่อเทียบกับที่ขยายตัว 12.6% ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2561 การลดลงของคำสั่งซื้อใหม่ในดัชนี PMI ของรัฐบาลซึ่งลดลงเหลือ 49.4 ในเดือนสิงหาคมจากระดับ 49.8 ในเดือนกรกฎาคมและจะยังคงเป็นต่อไป ถ้าสหรัฐฯกำหนดเพิ่มอัตราภาษีนำเข้าจากจีน 

เราสังเกตเห็นว่าสินทรัพย์ของจีนซึ่งรวมถึงค่าเงินหยวนได้รับอิทธิพลส่วนใหญ่จากตลาดเกิดใหม่ตลอดช่วงที่เหลือในปีนี้ ความสัมพันธ์กับดัชนีค่าเงินของตลาดเกิดใหม่ของ JP Morgan เข้าใกล้ระดับ 0.9 ในปีนี้จากเท่าที่เห็น และความสัมพันธ์กับดัชนี MSCI ของตลาดเกิดใหม่อยู่ที่ 0.85 

รัฐบาลจีนกำลังดำเนินการมาตรการต่างๆเพื่อลดความอ่อนแอของค่าเงินหยวนรวมถึงการกลับเข้าสู่ปัจจัยที่เป็นตัวนับวัฏจักรการหมุนเวียนเพื่อปรับปรุงเงินหยวนอีกครั้งโดยการกำหนดความต้องการสำรองในการซื้อขายล่วงหน้า หนึ่งในเหตุผลหลักที่อยู่เบื้องหลังคือการป้องกันไม่ให้สกุลเงินหยวนร่วงลงจาก 7 หยวนต่อดอลลาร์สหรัฐ 

หากค่าเงินหยวนต่อดอลล่าร์สหรัฐร่วงลงถึงระดับสำคัญที่ 7 หยวนต่อดอลล่าร์ มันจะเป็นการสร้างแรงกดดันอย่างมหาศาลให้กับค่าเงินของตลาดเกิดใหม่ที่เหลืออย่างแพร่กระจายรวมไปถึงหุ้นอีก

 

ผลกระทบจากวิกฤติค่าเงินที่มีต่อเศรษฐกิจโลก 

อย่างแรก ผมไม่คิดว่าจะมีวิกฤติค่าเงินที่เกิดเป็นวงกว้างในขณะนี้ และความรุนแรงยังน้อยกว่าสมัยวิกฤติหนี้สินของสหภาพยุโรปในช่วงปี 2553 -2555 การเทขายสินทรัพย์บางประเภทของตลาดเกิดใหม่จะเน้นไปที่ข้อเท็จจริงไม่กี่อย่าง หนึ่งคือความพยายามที่จะทำให้นโยบายการเงินของสหรัฐฯเป็นไปตามปกติหลังจากกว่าทศวรรษที่มีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจแบบพิเศษซึ่งส่งผลต่อประเทศอื่น ๆ อีกมากมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเงินเฟ้อสูงขึ้นรวมถึงหนี้ต่างประเทศประการที่สองแม้ว่านโยบายแบบกระชับซึ่งเป็นที่ถูกใจของหลายๆกลุ่มทำให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้นแต่ก็สร้างความลำบากทำให้ประเทศอื่นๆเช่นอาร์เจนตินาในการขายหรือกู้ยืมเป็นสกุลเงินดอลลาร์ได้ยากขึ้น เมื่อรวมกับช่องโหว่ที่มีอยู่แล้วและความไม่แน่นอนทางการเมือง เมื่ออยู่ในขั้นนี้จึงเรียกได้ว่าเป็นวงจรการล่มสลายของเศรษฐกิจแบบพึ่งพาตนเอง เป็นกับดักให้นโยบายเข้าสู่วงจรเลวร้าย ตัวอย่างเช่น

ธนาคารกลางช่วยให้นโยบายการเงินสามารถอัดฉีดสภาพคล่องเพื่อตอบโต้การไหลออกของเงินทุนได้มากขึ้น แต่ยิ่งมีการฉีดมากขึ้นความกดดันด้านค่าเสื่อมค่าของสกุลเงินก็ยิ่งมากขึ้นซึ่งจะทำให้เกิดการไหลออกของเงินทุนมากขึ้นไปอีก ในทางกลับกันแรงกดดันด้านเงินสกุลต่างๆของตลาดเกิดใหม่ช่วยผลักดันให้อัตราเงินเฟ้อสูงขึ้นและสร้างความสงสัยเกี่ยวกับฐานะทางการเงินของประเทศโดยมีคำถามว่าจำเป็นหรือไม่ที่จะควบคุมความนโยบายรัดกุมของการคลัง กลับกลายเป็นการคุกคามแนวโน้มการเติบโตและลงความเชื่อมั่นลงอย่างมาก

 

การแก้ปัญญาด้วยการขึ้นดอกเบี้ยอย่างเช่นที่หลายประเทศกำลังทำอยู่เป็นการแก้ปัญหาที่ถูกทางหรือไม่ และมีวิธีเสนอแนะการแก้ไขด้วยวิธีอื่นหรือไม่

ว่ากันตามตรงแล้วมีทางเลือกเหลือไม่มากนั้น มีตลาดเกิดใหม่เพียงไม่กี่ประเทศที่ถือทุนสำรองเงินตราต่างประเทศก้อนโตอย่างเช่นที่จีนมี ดังนั้นช่องทางที่ให้พวกเขาปกป้องค่าเงินของเขาได้นั้นจึงมีจำกัด หากพวกเขาไม่ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อป้องกันไม่ให้มีการเทขาย ระบบการเงินของพวกเขาก็จะอ่อนแอลง   

การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อควบคุมภาวะเงินเฟ้อและลดความกดดันด้านการเสื่อมค่าของสกุลเงินทำให้เกิดผลข้างเคียงกับเศรษฐกิจอยู่หลายอย่างนั้นเป็นเรื่องจริง  หากธนาคารกลางออกนโยบายปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไม่ไหว อีกทางเลือกหนึ่งคือสร้างความแข็งแกร่งให้กับการจัดการเงินทุนระหว่างประเทศ (cross-broader capital management) แต่สิ่งนี้ไม่ใช่ทางเลือกที่ดีต่อประเทศนักเนื่องจากมันจะไปลดฟังก์ชั่นการทำงานของระบบตลาดทุนที่มีประสิทธิภาพและบิดเบือนการประเมินมูลค่าสินทรัพย์ต่างๆในประเทศของตนเอง

 

ผลกระทบจากวิกฤตครั้งนี้ส่งผลต่อค่าเงินและเศรษฐกิจไทยอย่างไร? 

ต้องขอบคุณงบเกินดุลบัญชีเดินสะพัดปริมาณใหญ่มากและทุนสำรองเงินตราระหว่างประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 13 ในตอนนี้ค่าเงินบาทเป็นตัวบ่งชี้ที่ดีที่สุดในกลุ่มเพื่อนบ้านในภูมิภาคเงินทุนสำรองระหว่างประเทศที่แข็งค่าของไทยและการเพิ่มขึ้นของดุลบัญชีเดินสะพัดที่เกินดุลจำนวนมากช่วยปกป้องสกุลเงินบาทจากความวุ่นวายที่เลวร้ายที่สุดของตลาดเกิดใหม่

 

New call-to-action

 

ทีมวิจัยฟูลเลอร์ตัน มาร์เก็ต
คู่ค้าที่ทุ่มเทของคุณ