ดอลลาร์อาจเริ่มกลับตัวท่ามกลางการใช้นโยบายผ่อนคลายทางการเงินของธนาคารต่างๆ ถึงเวลาขาย EUR/USD หรือยัง?
อัตราดอกเบี้ยทั่วโลกที่มีความแตกต่างเป็นตัวการกำหนดกระแสเงินทุนในช่วงปลาย 2018
สิ่งที่นักเทรดเงินตราตางประเทศทั่วโลกจับตามองในขณะนี้คือการมุ่งเป้าไปที่ธนาคารกลางทั่วโลกที่จะชะลอนโยบายเข้มงวดทางการเงิน แทนการคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยได้เร็วเพียงใดหรือจะเกิดขึ้น 2 ครั้งหรือมากกว่า 3 ธนาคารกลางทั่วโลกอาจเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้ดอลลาร์ปรับตัวสูงขึ้นมากกว่าผลกระทบจากธนาคารกลางสหรัฐเองเสียด้วยซ้ำ
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา 2 ธนาคารกลางได้ตามข้อเสนอของธนาคารกลางยุโรปเมื่อไม่นานมานี้ ทั้ง ธนาคารแห่งประเทศนิวซีแลนด์ และธนาคารแห่งประเทศอังกฤษชะลอการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยที่คาดการณ์ไว้ โดยการหยิบยกความไม่แน่นอนของแนวโน้มอัตราเงินเฟ้อ ส่งผลให้ NZD และ GBP ร่วงลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์หลังการประชุมนโยบาย ธนาคารแห่งประเทศนิวซีแลนด์ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ระดับต่ำเป็นประวัติการณ์ที่ 1.75% และผู้ว่าการ เอเดรียน ออร์ กล่าวว่าทิศทางการเคลื่อนไหวที่จะเกิดขึ้นครั้งต่อไปจะมีความสมดุลกัน จะขึ้นหรือลง นักเทรดบางรายมองว่านี่เป็น "ประตูเปิดเพื่อปรับลดอัตราดอกเบี้ย" สำหรับการเคลื่อนไหวครั้งต่อไป ในเวลาเดียวกันธนาคารกลางได้ชะลอที่จะให้การคาดการณ์เป้าหมายเงินเฟ้อจะบรรลุเป้าหมายไปจนถึง ไตรมาสที่ 4 ของปี 2020 จาก ไตรมาสที่ 3 ในปี 2020 ตลาดไม่ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบียนจนถึงไตรมาสที่ 3 ของปี 2019 ดูเหมือนว่าจะไม่สายเกินไปในความเห็นของเรา จากการเปลี่ยนแปลงนโยบายเรายังมองว่าการเคลื่อนไหวครั้งต่อไปคือการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย หากความกดดันด้านเงินเฟ้อยังคงเพิ่มขึ้น และกระแสจากทั่วโลกอาจทำให้แย่ลง ทางด้านธนาคารกลางอังกฤษ เหลือเพียงอัตราดอกเบี้ยไม่เปลี่ยนแปลงและสัญญาณว่าไม่มีความรีบเร่งที่จะใช้นโยบายเข้มงวดทางการเงินแต่อย่างใด นักลงทุนตลาดการเงินในประเทศอังกฤษเห็นความเป็นไปได้ที่จะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ในปีนี้หลังจากที่ธนาคารกลางระบุว่าจำเป็นต้องมีการ เข้มงวดการควบรวมกิจการในช่วงอีกไม่กี่ปีข้างหน้า ความเป็นไปได้ที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะปรับเพิ่มขึ้น 25 จุดพื้นฐาน ซึ่งปัจจัยหลักในเดือนพฤศจิกายนก่อนที่จะมีการตัดสินใจของธนาคารกลางแห่งประเทศอังกฤษ ได้ลดลงถึง 85% หลังจากประกาศดังกล่าว สิ่งที่เห็นได้ชัดคือธนาคารแห่งประเทศอังกฤษได้ให้การรับรองว่ายังมีข้อมูลอยู่ ไม่ใช่แบบจำลองที่เกิดจากความวิตกกังวลในเดือนกุมภาพันธ์ มีที่กล่าวว่า ไม่ว่าค่าเงินปอนด์ฟื้นตัวหรือไม่ในไม่กี่เดือนข้างหน้าจะขึ้นอยู่กับข้อมูลทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเงินเฟ้อ
แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกา นักเทรดพันธบัตรยังยื่นคำขาด อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระหว่าง 5- และ 30 ปีลดลงเมื่อสัปดาห์ที่แล้วเหลือเพียง 26.2 จุด ต่ำสุดนับตั้งแต่เดือน ส. ค. ปี 2007 ที่ผ่านมาความคาดหมายของเส้นโค้งกลับ ซึ่งคาดการณ์การว่าจะถดถอยไว้ก่อนหน้านี้ มีความแข็งแรงเป็นอย่างมาก การคาดการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในปลายปีนี้หรือในปี 2019 คือธนาคารกลางสหรัฐยังคงแผนการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไว้
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐ 5/30 ปี
ที่มา: Bloomberg
อย่างไรก็ตามจากภาพของมหัพภาคทั่วโลก นโยบายของธนาคารกลางสหรัฐที่มีนั้นดูจะเข้มงวดทางการเงินมากขึ้นกว่าธนาคารกลางรายใหญ่อื่นๆ ผลดังกล่าวจะยังคงขยายผลตอบแทนระหว่างสหรัฐและภาคส่วนอื่น แผนภูมิด้านล่างแสดงช่องว่างการผลิตของสหรัฐและเยอรมนีในช่วง 10 ปีมีขยายตัวที่ 241 bps มากที่สุดในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา นั่นหมายความว่าเงินดอลลาร์มีโอกาสมากที่จะแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ในไม่กี่เดือนข้างหน้า เศรษฐกิจสหรัฐฯมีศักยภาพในการเติบโตต่อไป ซึ่งเป็นหน้าที่องธนาคารกลางสหรัฐที่จะต้องเล่นเกมส์นี้อย่างระมัดระวัง ราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้นกว่า 70 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล แต่จะกระตุ้นการผลิตของสหรัฐ และการผลิตที่เพิ่มขึ้นจะป้องกันไม่ให้ราคาเพิ่มไปที่ 100 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล แต่ก็เพียงพอสำหรับธนาคารกลางสหรัฐที่จะขึ้นอัตราดอกเบี้ยอย่างน้อยสองครั้งในช่วงปลายปี 2018
ช่องว่างผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะเวลา 10 ปี ของสหรัฐและเยอรมัน
ที่มา: Bloomberg
ทางเลือกของเรา
EUR/USD – ปรับตัวลดลงเล็กน้อย
คู่นี้อาจตดลงมาอยู่ที่ 1.19 อีกครั้งในสัปดาห์นี้ ส่วนใหญ่เป็นเพราะมุมมองของเงินดอลลาร์ที่มีเสถียรภาพ
AUD/USD – ปรับตัวลดลงเล็กน้อย
ข่อมูลเศรษฐกิจของจีนในสัปดาห์นี้ยังคงต่ำกว่าที่คาดการณ์ AUD/USD อาจตกลงมาอยู่ที่ 0.7470.
XAU/USD (ทองคำ) – อ่อนค่าลงเล็กน้อย
เราคาดการณ์ว่าราคาจะตกลงมาที่ 1310 ในสัปดาห์นี้
ทีมวิจัยฟูลเลอร์ตัน มาร์เก็ต
คู่ค้าที่ทุ่มเทของคุณ